บทที่ 2
เอกสารที่เกี่ยวข้อง
ประวัติมะพร้าว
แหล่งปลูกกระจายทั่วทุกภาค จังหวัดที่ปลูก มะพร้าวมากที่สุด คือจังหวัดชลบุรี
คิดเป็นร้อยละ10 ของพื้นที่ทั้งหมด รองลงมาคือ ราชบุรี่ สมุทรสาคร
นครปฐม และชุมพร แต่ผลผลิตมะพร้าวน้ำหอมจังหวัดสมุทรสาครมากที่สุด ทั้งนี้เนื่องจากเป็นพื้นที่ที่ให้ผลผลิตแล้วเป็นส่วนใหญ่
รองลงมาคือ จังหวัดราชบุรี
สภาพแวดล้อมที่เหมาะสม
• ควรมีฝนตกกระจายสม่ำเสมอไม่น้อยกว่า 1,500 มิลลิเมตรต่อปี และไม่ควรมีฝนตกน้อยกว่า 50 มิลลิเมตร เกิน 3 เดือน
• อุณหภูมิเฉลี่ย 27 องศาเซลเซียส จะสูงหรือต่ำกว่านี้ไม่เกิน 7-8 องศาเซลเซียส อุณหภูมิไม่ควรเปลี่ยนแปลงอย่างกระทันหัน
• มะพร้าวควรได้รับแสงแดดอย่างน้อย 5 ชั่วโมงต่อวัน แสงแดดต้องสาดส่องอย่างสม่ำเสมอตลอดปี
• ควรมีลมพัดอ่อน ๆ แต่พัดอย่างสม่ำเสมอ
• ดินไม่เปรี้ยวหรือเค็มจัด มีความอุดมสมบูรณ์เพียงพอ และความชื้นพอเหมาะ แต่ถ้าเป็นดินน้ำไหลทรายมูลที่เกิดจากน้ำพัดพามาสะสม เช่น ดินริมแม่น้ำ จะปลูกมะพร้าวได้ดีที่สุด
• ควรมีฝนตกกระจายสม่ำเสมอไม่น้อยกว่า 1,500 มิลลิเมตรต่อปี และไม่ควรมีฝนตกน้อยกว่า 50 มิลลิเมตร เกิน 3 เดือน
• อุณหภูมิเฉลี่ย 27 องศาเซลเซียส จะสูงหรือต่ำกว่านี้ไม่เกิน 7-8 องศาเซลเซียส อุณหภูมิไม่ควรเปลี่ยนแปลงอย่างกระทันหัน
• มะพร้าวควรได้รับแสงแดดอย่างน้อย 5 ชั่วโมงต่อวัน แสงแดดต้องสาดส่องอย่างสม่ำเสมอตลอดปี
• ควรมีลมพัดอ่อน ๆ แต่พัดอย่างสม่ำเสมอ
• ดินไม่เปรี้ยวหรือเค็มจัด มีความอุดมสมบูรณ์เพียงพอ และความชื้นพอเหมาะ แต่ถ้าเป็นดินน้ำไหลทรายมูลที่เกิดจากน้ำพัดพามาสะสม เช่น ดินริมแม่น้ำ จะปลูกมะพร้าวได้ดีที่สุด
พันธุ์มะพร้าวน้ำหอม
เชื่อว่ามะพร้าวน้ำหอมกลายพันธุ์มาจากพันธุ์หมูสีเขียว เกิดจากการ
คัดเลือกพันธุ์โดยธรรมชาติ จุดเด่นคือ น้ำมะพร้าวมีกลิ่นหอมและรสหวานจึงเป็นพันธุ์ที่นิยมปลูกเป็นการค้ามากที่สุด
ในบรรดามะพร้าวที่ปลูกเพื่อขายผลอ่อน เป็นมะพร้าวที่ให้ผลเร็วติดผลดกและต้นเตี้ย การบานของดอกตัวผู้และดอกตัวเมียใกล้เคียงกัน
จึงผสมตัวเอง แทนที่จะผสมข้ามต้นแบบมะพร้าวต้นสูง ทำให้มะพร้าวน้ำหอม
วิธีการปลูก
การเตรียมที่ปลูก
การเตรียมที่ปลูก
ที่ลุ่ม
พื้นที่ลุ่มน้ำท่วมขังจำเป็นต้องยกร่องให้สูงกว่าระดับน้ำ ไม่น้อยกว่า 50 ซม. คันร่อง กว้าง 5-8 เมตร ร่องลึก 1 เมตร กว้าง1 1/2 - 2 เมตร
ที่ดอน
ถ้าเป็นพื้นที่รกร้าง ต้องถางให้เตียน โค่นต้นไม้และขุดตอออกให้หมด เพื่อสะดวกในการดูแลรักษามะพร้าวต่อไป
ระยะปลูกที่เหมาะสม
คือ ระยะระหว่างต้น x ระยะระหว่างแถว เท่ากับ 6x6 เมตร
การเตรียมหลุมปลูก
การปลูกมะพร้าวบนที่ดอนและดินมีความอุดมสมบูรณ์ เช่น เป็นดินทราย หรือดินลูกรัง ควรขุดหลุมกว้าง 1 เมตร ยาว 1 เมตร และลึก 1 เมตร ส่วนในที่ลุ่มหรือที่ที่ดินอุดมสมบูรณ์อาจขุดหลุมให้เล็กกว่านี้ได้ การเตรียมหลุมปลูกที่ดีจะช่วยให้หน่อมะพร้าวเจริญเติบโตเร็วการขุดหลุม ให้ขุดเอาดินผิวไว้ด้านหนึ่ง และดินชั้นล่างไว้อีกทางหนึ่ง และควรขุดในฤดูแล้ง หลังจากขุดหลุมแล้ว ให้ตากดินไว้สัก 7 วัน ถ้าสามารถหาไม้มาเผาในก้นหลุมจะช่วยป้องกันปลวกหลังจากขุดหลุมแล้ว เมื่อจะใส่ดินลงในหลุม ถ้าที่ปลูกนั้นเป็นที่ดอน และสามารถหากาบมะพร้าวมารองก้นหลุมได้ ควรรองก้นหลุมด้วยกาบมะพร้าวสัก 2 ชั้น แล้วจึงเอาดินชั้นบนใส่ลงไปประมาณครึ่งหลุม และใช้ดินเคล้ากับปุ๋ยคอกผสมลงไป บางแห่งก็แนะนำให้ใส่ปุ๋ยกับดิน และกาบมะพร้าวสลับกันไปเป็นชั้น ๆ ปุ๋ยคอกที่ใส่ควรใส่หลุมละประมาณ1 ปี
พื้นที่ลุ่มน้ำท่วมขังจำเป็นต้องยกร่องให้สูงกว่าระดับน้ำ ไม่น้อยกว่า 50 ซม. คันร่อง กว้าง 5-8 เมตร ร่องลึก 1 เมตร กว้าง1 1/2 - 2 เมตร
ถ้าเป็นพื้นที่รกร้าง ต้องถางให้เตียน โค่นต้นไม้และขุดตอออกให้หมด เพื่อสะดวกในการดูแลรักษามะพร้าวต่อไป
ระยะปลูกที่เหมาะสม
คือ ระยะระหว่างต้น x ระยะระหว่างแถว เท่ากับ 6x6 เมตร
การเตรียมหลุมปลูก
การปลูกมะพร้าวบนที่ดอนและดินมีความอุดมสมบูรณ์ เช่น เป็นดินทราย หรือดินลูกรัง ควรขุดหลุมกว้าง 1 เมตร ยาว 1 เมตร และลึก 1 เมตร ส่วนในที่ลุ่มหรือที่ที่ดินอุดมสมบูรณ์อาจขุดหลุมให้เล็กกว่านี้ได้ การเตรียมหลุมปลูกที่ดีจะช่วยให้หน่อมะพร้าวเจริญเติบโตเร็วการขุดหลุม ให้ขุดเอาดินผิวไว้ด้านหนึ่ง และดินชั้นล่างไว้อีกทางหนึ่ง และควรขุดในฤดูแล้ง หลังจากขุดหลุมแล้ว ให้ตากดินไว้สัก 7 วัน ถ้าสามารถหาไม้มาเผาในก้นหลุมจะช่วยป้องกันปลวกหลังจากขุดหลุมแล้ว เมื่อจะใส่ดินลงในหลุม ถ้าที่ปลูกนั้นเป็นที่ดอน และสามารถหากาบมะพร้าวมารองก้นหลุมได้ ควรรองก้นหลุมด้วยกาบมะพร้าวสัก 2 ชั้น แล้วจึงเอาดินชั้นบนใส่ลงไปประมาณครึ่งหลุม และใช้ดินเคล้ากับปุ๋ยคอกผสมลงไป บางแห่งก็แนะนำให้ใส่ปุ๋ยกับดิน และกาบมะพร้าวสลับกันไปเป็นชั้น ๆ ปุ๋ยคอกที่ใส่ควรใส่หลุมละประมาณ1 ปี
การปลูก
หลังจากฝนตกหนัก 2 ครั้ง ในช่วงต้นฝนจึงเริ่มลงมือปลูก โดยขุดดินตรงกลางหลุม ขนาดเท่าผลมะพร้าว เอาหน่อมะพร้าววางลงจัดรากให้แผ่ตามธรรมชาติ เอาดินกลบเหยียบด้านข้างให้แน่น กลบดินให้เสมอผิวของผลมะพร้าว ปักหลักกันลมโยกในระยะแรก ๆ ควรทำร่มบังแดดด้วย
การดูแลรักษา
หลังจากฝนตกหนัก 2 ครั้ง ในช่วงต้นฝนจึงเริ่มลงมือปลูก โดยขุดดินตรงกลางหลุม ขนาดเท่าผลมะพร้าว เอาหน่อมะพร้าววางลงจัดรากให้แผ่ตามธรรมชาติ เอาดินกลบเหยียบด้านข้างให้แน่น กลบดินให้เสมอผิวของผลมะพร้าว ปักหลักกันลมโยกในระยะแรก ๆ ควรทำร่มบังแดดด้วย
การดูแลรักษา
การให้น้ำ
ในช่วง 1-2 ปีแรก การให้น้ำแก่ต้นมะพร้าวเป็นสิ่งจำเป็นในฤดูแล้ง ควรรดน้ำอย่างน้อยอาทิตย์ละครั้ง และใช้เศษหญ้าคลุมโคนมะพร้าวเพื่อรักษาความชื้น
การใส่ปุ๋ย
ใส่ปุ๋ย 2 ครั้ง ในช่วงฤดูฝน ปุ๋ยเคมีสูตร 13-13-21 ปริมาณเท่าจำนวนอายุของมะพร้าว แต่ไม่เกิน 4 กิโลกรัม ต่อต้นต่อปี สำหรับปุ๋ยคอกใส่ประมาณ 2 ปีบต่อต้นต่อปี ควรใส่ปุ๋ยคอกหรือปุ๋ยเคมีห่างจากโคนต้นมะพร้าวออกมา 15 เซนติเมตร จนถึงรัศมี 1.5 เมตร รอบต้น
ในช่วง 1-2 ปีแรก การให้น้ำแก่ต้นมะพร้าวเป็นสิ่งจำเป็นในฤดูแล้ง ควรรดน้ำอย่างน้อยอาทิตย์ละครั้ง และใช้เศษหญ้าคลุมโคนมะพร้าวเพื่อรักษาความชื้น
การใส่ปุ๋ย
ใส่ปุ๋ย 2 ครั้ง ในช่วงฤดูฝน ปุ๋ยเคมีสูตร 13-13-21 ปริมาณเท่าจำนวนอายุของมะพร้าว แต่ไม่เกิน 4 กิโลกรัม ต่อต้นต่อปี สำหรับปุ๋ยคอกใส่ประมาณ 2 ปีบต่อต้นต่อปี ควรใส่ปุ๋ยคอกหรือปุ๋ยเคมีห่างจากโคนต้นมะพร้าวออกมา 15 เซนติเมตร จนถึงรัศมี 1.5 เมตร รอบต้น
การปลูกพืชแซม
ในปีที่ 1-2 มะพร้าวอ่อนยังมีทรงพุ่มไม่ใหญ่นัก และยังไม่ได้ผลผลิต ช่วงนี้จึงควรปลูกพืชอายุสั้น เช่น พืชผัก พืชตระกูลถั่ว พืชไร่ หรือ พืชสวน เพื่อเพิ่มรายได้ให้กับผู้ปลูกมะพร้าวอ่อน
ศัตรูมะพร้าว
ในปีที่ 1-2 มะพร้าวอ่อนยังมีทรงพุ่มไม่ใหญ่นัก และยังไม่ได้ผลผลิต ช่วงนี้จึงควรปลูกพืชอายุสั้น เช่น พืชผัก พืชตระกูลถั่ว พืชไร่ หรือ พืชสวน เพื่อเพิ่มรายได้ให้กับผู้ปลูกมะพร้าวอ่อน
ศัตรูมะพร้าว
ด้วงแรด
กัดกินยอดมะพร้าวทำให้ใบมะพร้าวขาดเป็นริ้ว ๆ รูปสามเหลี่ยม ต่อมาทางมะพร้าวจะหักพับลงทำให้มะพร้าวโทรม
หรือตายได้ แหล่งขยายพันธุ์ในซากลำต้นหรือตอของมะพร้าว
หรือมูลสัตว์ที่กองทิ้งไว้นาน ๆ การกำจัดแหล่งขยายพันธุ์เป็นการป้องกันที่ดีที่สุด
การป้องกันกำจัด
ใช้วิธีเขตกรรม
การกำจัดแหล่งขยายพันธุ์เป็นวิธีที่ดีที่สุด และลงทุนน้อย โดยไม่ปล่อยแหล่งขยายพันธุ์ไว้เกิน 2-3 เดือน มีวิธีดำเนินการดังต่อไปนี้
• เผาหรือฝังซากท่อนมะพร้าว ตอมะพร้าว
• นำชิ้นส่วนของพืชและมูลสัตว์ที่กองทิ้งไว้ ควรเกลี่ยกระจายบนพื้นดินไม่ให้หนาเกิน 15 ซม.
• ถ้าจำเป็นต้องกองทิ้งไว้เกิน 2-3 เดือน ควรหมั่นพลิกกลับกอง เพื่อตรวจหาไข่หนอน ดักแด้ และตัวเต็มวัยของด้วงแรด แล้วกำจัดทันที
การป้องกันกำจัด
ใช้วิธีเขตกรรม
การกำจัดแหล่งขยายพันธุ์เป็นวิธีที่ดีที่สุด และลงทุนน้อย โดยไม่ปล่อยแหล่งขยายพันธุ์ไว้เกิน 2-3 เดือน มีวิธีดำเนินการดังต่อไปนี้
• เผาหรือฝังซากท่อนมะพร้าว ตอมะพร้าว
• นำชิ้นส่วนของพืชและมูลสัตว์ที่กองทิ้งไว้ ควรเกลี่ยกระจายบนพื้นดินไม่ให้หนาเกิน 15 ซม.
• ถ้าจำเป็นต้องกองทิ้งไว้เกิน 2-3 เดือน ควรหมั่นพลิกกลับกอง เพื่อตรวจหาไข่หนอน ดักแด้ และตัวเต็มวัยของด้วงแรด แล้วกำจัดทันที
ใช้วิธีกล
• หมั่นทำความสะอาดบริเวณตอมะพร้าวตามโคน และยอด หากพบให้ใช้เหล็กแหลมแทงด้วงแรดในรู เพื่อกำจัดทันที ก่อนจะทำลายตายอดมะพร้าว พร้อมใส่สารฆ่าแมลงป้องกัน
• หมั่นทำความสะอาดบริเวณตอมะพร้าวตามโคน และยอด หากพบให้ใช้เหล็กแหลมแทงด้วงแรดในรู เพื่อกำจัดทันที ก่อนจะทำลายตายอดมะพร้าว พร้อมใส่สารฆ่าแมลงป้องกัน
ใช้สารฆ่าแมลง
• พอสซ์ หรือลอร์สแบบ 40 อีซี ปริมาณ 80 มล./น้ำ 20 ลิตร สำหรับมะพร้าวอายุ 1-5 ปี ราดบริเวณคอมะพร้าวให้เปียกชุ่มโดยใช้น้ำยาผสมประมาณ 1-1.5 ลิตร/ต้น ตามขนาดของคอมะพร้าว ห่างกัน 15-20 วัน ทำติดต่อกัน 1-2 ครั้ง
• เซฟวิน 85 ดับบลิวพี ใช้เซฟวิน 85 ดับบลิวพี 1 ส่วน ผสมขี้เลื่อย 33 ส่วน ใช้ทารอบยอดส่วนของโคน ทางใบมะพร้าว
• ลูกเหม็น ใช้ลูกเหม็น 6-8 ลูก/ต้น ใส่ลูกเหม็นไว้ที่โคนทางมะพร้าวที่อยู่รอบยอดที่ยังไม่คลี่จำนวน 3-4 ทาง ๆ ละ 2 ลูก ลดจำนวนลูกเหม็นลงเป็น 1 ลูก/ทางใบมะพร้าวต้นเล็ก
• ฟูราดาน 3% จี ใช้ฟูราดาน 200 กรัม/ต้น โรยรอบคอมะพร้าวตามโคนกาบใบ
ด้วงงวงชนิดเล็กและชนิดใหญ่
ตัวด้วงกัดกินส่วนอ่อนของมะพร้าว เช่น ยอดอ่อนหรือโคนมะพร้าว ทำให้มะพร้าวแคระแกร็น ใบหดสั้น ใบอ่อนร่วงหล่น คอมะพร้าวเน่า และตายในที่สุด
การป้องกันกำจัด
ใช้น้ำมันเครื่องที่ใช้แล้ว หรือ ชันผสมน้ำมันยาง ทารอบต้นตั้งแต่โคนต้นถึงระดับเหนือพื้นดิน 2 ฟุต ที่พบรอยแผลหรือรอยแตกของเปลือก เพื่อป้องกันการวางไข่ ทำปีละ 2 ครั้ง ใช้สารเคมีลอร์สแบน 40-80 ซีซี/น้ำ 20 ลิตร หยอดตามรอยแผลหรือรูเจาะที่เกิดจากด้วงแรด บริเวณรอบคอมะพร้าว และราดบริเวณบาดแผลที่เป็นเนื้อเยื่ออ่อน พร้อมอุดรูด้วยดินน้ำมัน หรือดินเหนียว
• พอสซ์ หรือลอร์สแบบ 40 อีซี ปริมาณ 80 มล./น้ำ 20 ลิตร สำหรับมะพร้าวอายุ 1-5 ปี ราดบริเวณคอมะพร้าวให้เปียกชุ่มโดยใช้น้ำยาผสมประมาณ 1-1.5 ลิตร/ต้น ตามขนาดของคอมะพร้าว ห่างกัน 15-20 วัน ทำติดต่อกัน 1-2 ครั้ง
• เซฟวิน 85 ดับบลิวพี ใช้เซฟวิน 85 ดับบลิวพี 1 ส่วน ผสมขี้เลื่อย 33 ส่วน ใช้ทารอบยอดส่วนของโคน ทางใบมะพร้าว
• ลูกเหม็น ใช้ลูกเหม็น 6-8 ลูก/ต้น ใส่ลูกเหม็นไว้ที่โคนทางมะพร้าวที่อยู่รอบยอดที่ยังไม่คลี่จำนวน 3-4 ทาง ๆ ละ 2 ลูก ลดจำนวนลูกเหม็นลงเป็น 1 ลูก/ทางใบมะพร้าวต้นเล็ก
• ฟูราดาน 3% จี ใช้ฟูราดาน 200 กรัม/ต้น โรยรอบคอมะพร้าวตามโคนกาบใบ
ด้วงงวงชนิดเล็กและชนิดใหญ่
ตัวด้วงกัดกินส่วนอ่อนของมะพร้าว เช่น ยอดอ่อนหรือโคนมะพร้าว ทำให้มะพร้าวแคระแกร็น ใบหดสั้น ใบอ่อนร่วงหล่น คอมะพร้าวเน่า และตายในที่สุด
ใช้น้ำมันเครื่องที่ใช้แล้ว หรือ ชันผสมน้ำมันยาง ทารอบต้นตั้งแต่โคนต้นถึงระดับเหนือพื้นดิน 2 ฟุต ที่พบรอยแผลหรือรอยแตกของเปลือก เพื่อป้องกันการวางไข่ ทำปีละ 2 ครั้ง ใช้สารเคมีลอร์สแบน 40-80 ซีซี/น้ำ 20 ลิตร หยอดตามรอยแผลหรือรูเจาะที่เกิดจากด้วงแรด บริเวณรอบคอมะพร้าว และราดบริเวณบาดแผลที่เป็นเนื้อเยื่ออ่อน พร้อมอุดรูด้วยดินน้ำมัน หรือดินเหนียว
การเก็บเกี่ยว
วิธีการที่สามารถใช้สังเกตอายุการเก็บเกี่ยวมะพร้าวที่เหมาะสมได้ เช่น
• การนับทะลาย นับทะลายที่จะเก็บเกี่ยวเป็นทะลายที่หนึ่ง แล้วนับทะลายที่ออกตามมาเป็นทะลายที่สองและสามไปเรื่อย ๆ เมื่อจั่นที่ 12 แทงออกและกาบหุ้มยังไม่แตกเป็นระยะที่ มะพร้าวทะลายแรกอยู่ในช่วงที่อ่อนกำลังดี
• สังเกตจากหางหนู เก็บเกี่ยวในช่วงที่หางหนูแห้งครึ่งหนึ่ง ส่วนอีกครึ่งหนึ่งยังสดอยู่
• สังเกตจากสีผล ให้สังเกตบริเวณรอยต่อของขั้วกับตัวผล ซึ่งจะเห็นเป็นวงสีขาว ๆ รอบขั้วผลอยู่ในระยะที่เพิ่ง เลือนหายไป
วิธีการที่สามารถใช้สังเกตอายุการเก็บเกี่ยวมะพร้าวที่เหมาะสมได้ เช่น
• การนับทะลาย นับทะลายที่จะเก็บเกี่ยวเป็นทะลายที่หนึ่ง แล้วนับทะลายที่ออกตามมาเป็นทะลายที่สองและสามไปเรื่อย ๆ เมื่อจั่นที่ 12 แทงออกและกาบหุ้มยังไม่แตกเป็นระยะที่ มะพร้าวทะลายแรกอยู่ในช่วงที่อ่อนกำลังดี
• สังเกตจากหางหนู เก็บเกี่ยวในช่วงที่หางหนูแห้งครึ่งหนึ่ง ส่วนอีกครึ่งหนึ่งยังสดอยู่
• สังเกตจากสีผล ให้สังเกตบริเวณรอยต่อของขั้วกับตัวผล ซึ่งจะเห็นเป็นวงสีขาว ๆ รอบขั้วผลอยู่ในระยะที่เพิ่ง เลือนหายไป
การแปรรูป
• มะพร้าวแก้ว
• มะพร้าวแก้ว
• วุ้นมะพร้าว
• มะพร้าวสวรรค์
• ข้าวเกรียบงาที่ทำจากมะพร้าว
• เยลลี่มะพร้าว
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น